เบี้ยประกันสุขภาพ หมายถึงอะไร และเบี้ยประกันสุขภาพของบิดามารดา มีประโยชน์อย่างไร ซึ่งเชื่อหรือไม่ว่าสามารถใช้เป็นค่าลดหย่อนได้ ตามที่จ่ายจริง โดยจะได้รับสูงสุดในแต่ละปี แต่สำหรับคนที่จ่ายเบี้ยประกันสุขภาพบิดามารดา เป็นสิทธิประโยชน์สำหรับภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเท่านั้น ซึ่งคนที่จะได้รับสิทธิประโยชน์ที่ได้รับนั่นก็คือ คนที่จ่ายเบี้ยประกันสุขภาพบิดามารดานั่นเอง นอกจากนี้ยังสามารถนำเบี้ยประกันสุขภาพที่จ่ายให้ทั้งพ่อและแม่ไปใช้เป็นค่าลด หย่อนได้ตามที่จ่ายจริง และอาจจ่ายแบบรวมสูงสุดไม่เกินปีละ 15,000 บาท
อ่านเพิ่มเติม : เรามีรายการ อะไรที่ใช้ลดหย่อนภาษี ได้บ้าง ?
เมื่อจ่ายเบี้ยประกันสุขภาพของบิดามารดาร่วมกับพี่น้อง
เบี้ยประกันสุขภาพบิดามารดา สามารถใช้เป็นค่าลดหย่อนได้ ตามที่จ่ายจริง รวมสูงสุดปีละ 15,000 บาท สำหรับคนที่จ่ายเบี้ยประกันสุขภาพบิดามารดา ซึ่งหากเป็นคู่สมรสของคุณไม่มีเงินได้ แต่มีเบี้ยประกันสุขภาพพ่อแม่ของคู่สมรสก็สามารถนำไปใช้หักลดหย่อนได้ตามที่จ่ายจริงได้เช่นกัน โดยสามารถจ่ายได้สูงสุดไม่เกินปีละ 15,000 บาท แต่ถ้าหากคุณจ่ายเบี้ยประกันสุขภาพบิดามารดาร่วมกับพี่น้องคนอื่น ๆ ในการรับสิทธิประโยชน์ที่จะได้รับก็จะทำการเฉลี่ยตามจำนวนพี่น้องที่จ่ายร่วมกัน ยกตัวอย่างเช่น การจ่ายเบี้ยประกันสุขภาพบิดามารดาไปจริง 15,000 บาทต่อปี และคุณได้ทำการจ่ายเบี้ยประกันสุขภาพร่วมกับพี่น้องของคุณรวมทั้งหมด 3 คน ทำให้แต่ละคนจึงมีสิทธิหักลดหย่อนเบี้ยประกันสุขภาพบิดามารดาได้คนละ 5,000 บาทนั่นเอง
เงื่อนไขในการเข้ารับสิทธิประโยชน์ ของเบี้ยประกันสุขภาพของบิดามารดา
การจ่ายเบี้ยประกันสุขภาพ ของพ่อแม่ คุณเองก็มีสิทธิหักลดหย่อน ซึ่งการทำเบี้ยประกันสุขภาพ บิดามารดาถ้าได้ทำตามเงื่อนไขทั้งหมดต่อไปนี้ โดยคุณซึ่งเป็นลูกแท้ๆ ที่ถูกต้องตามกฎหมายของพ่อแม่ และพ่อแม่ของคุณนั้นมีรายได้ทั้งปีภาษีไม่เกินปีละ 30,000 บาทอย่างน้อยต้องมีคุณหรือพ่อแม่คุณคนใดคนหนึ่งที่อยู่ในประเทศไทยครบ 180 วันในปีภาษีนั้น ซึ่งถือเป็นความคุ้มครองพ่อแม่อย่างใดอย่างหนึ่ง นั่นก็คือ เป็นประกันภัยคุ้มครองการรักษาพยาบาลที่อาจจะเกิดจากการเจ็บป่วยหรือเกิดจากการบาดเจ็บ รวมไปถึงการชดเชยการทุพพลภาพ การสูญเสียอวัยวะภายในร่างกาย ที่อาจเกิดจากการเจ็บป่วยหรือบาดเจ็บ ซึ่งถือว่าเป็นประกันภัยอุบัติเหตุที่คุ้มครองเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล หรือการทุพพลภาพ การสูญเสียอวัยวะ และยังรวมไปถึงการแตกหักของกระดูก สาเหตุดังกล่าวนับว่าเป็นประกันภัยโรคร้ายแรง และเป็นประกัน ภัยแบบดูแลระยะยาว
หลักฐานที่ต้องใช้จ่ายเบี้ยประกันสุขภาพ
หลักฐานที่ต้องใช้ทำเบี้ยประกันสุขภาพบิดามารดา ที่ต้องเตรียมพร้อมคือ ใบเสร็จหรือหนังสือรับรองการชำระเบี้ยประกันสุขภาพจากบริษัทประกัน ซึ่งคุณเองก็จะต้องทำความเข้าใจและอ่านละเอียดในการทำอย่างถี่ถ้วน เพราะส่วนมากเรื่องที่มักเข้าใจผิดกันบ่อยๆ นั่นก็คือ เมื่อมีการทำเบี้ยประกันสุขภาพที่จ่ายสำหรับทำประกันสุขภาพให้ ตัวเองหรือคนอื่นที่ไม่ใช่พ่อแม่ของเราเอง จะไม่สามารถใช้หักลดหย่อนภาษีได้ เพราะกฎหมายได้ระบุให้สิทธิประโยชน์สำหรับประกันสุขภาพที่ทำให้พ่อแม่เท่านั้น แต่ถ้าหากเป็นเบี้ยประกันชีวิตที่จ่ายสำหรับทำประกันชีวิตให้ตัวเองหรือคู่สมรสที่ไม่มีรายได้สามารถให้หักลดหย่อนภาษีได้เช่นกัน ส่วนการทำประกันสุขภาพแบบคุ้มครองตลอดชีพถึงจนถึงอายุ 99 ปี แต่ว่าเป็นการใช้เวลาในการชำระเบี้ยประกันภัยถึง 20 ปี ซึ่งตรงนี้อาจจะมีเงินปันผลด้วย และมีเงินคืนให้เมื่อครบสัญญา วงเงินเอาประกันถึงหนึ่งแสนบาท นอกจากนี้คุณยังสามารถเลือกแบบได้มากกว่านี้ตามความต้องการที่ไม่จำกัด และที่สำคัญที่หลายคนอาจจะยังไม่ทราบว่ามีประกันโรคมะเร็งให้ด้วย หากเกิดเป็นโรคมะเร็ง และจำเป็นจะต้องรักษา แทนที่จะเก็บเงินไว้จ่ายอย่างอื่นหรือเก็บเงินไว้ให้ลูกหรือคนที่คุณรัก แต่กลับต้องมาจ่ายให้กับโรงพยาบาลหมด แต่สำหรับการจ่ายค่าเบี้ยประกันไม่สูงมากประมาณ 520 บาทต่อเดือนก็จะช่วยคุ้มครองได้เช่นกัน
ความคุ้มครอง ของการจ่ายเบี้ยประกันสุขภาพ
ความคุ้มครองในการจ่ายเบี้ยประกันสุขภาพบิดามารดา ที่สามารถเข้ารักษาตัวกรณีเจ็บป่วยไข้ ปกติในโรงพยาบาลได้ และสามารถเบิกได้สูงถึง 99,250 บาทต่อครั้ง สำหรับผู้ป่วยโรคมะเร็ง โรคตับแข็ง โรคกล้ามเนื้อเสื่อม โรคถุงลมโป่งพอง โรคโปลิโอ โรคการแข็งตัวของเนื้อเยื่อ หรือเสียชีวิต จะมีการจ่ายค่ารักษาพยาบาลถึง 600,000 บาท ซึ่งเมื่อเข้ารักษาโรคตามข้อ หรือป่วยเป็นโรคมะเร็งในโรงพยาบาลจ่ายให้ มากสุดถึง 2,500,000 บาท แต่หากเป็นกรณีเกิดเสียชีวิตจากอุบัติ เหตุ โดนฆาตกรรม หรือโดนลอบทำร้ายจ่ายให้จะจ่ายให้ถึง 100,000 บาท และหากเกิดทุพพลภาพโดยสิ้นเชิงถาวรก่อนอายุ 60 ปี ทางบริษัทประกันจะยกเว้นการชำระเบี้ยประกันภัยหลักจนครบสัญญาที่ได้ระบุไว้ในข้อกำหนดจะเป็นการยกเลิกทันที สำหรับค่าชดเชยรายวัน กรณีเข้าพักรักษาในโรงพยาบาล จะมีการชดเชยให้วันละมากถึง 182,500 บาท แต่ถ้าไม่เป็นโรคอะไรเมื่อครบกรมธรรม์จะคืนเงินให้ในจำนวน 100,000 บาท นอกจากนี้ ยังสามารถนำค่าเบี้ยประกัน ไปลดหย่อนภาษีบุคคลธรรมดาได้ตามจ่ายจริงแต่วงเงินไม่เกิน 100,000 บาทต่อปี และสามารถลดหย่อนถึงได้ 20 ปี ที่สำคัญยังได้รับเงินปันผลรายปีแบบตลอดชีพ แต่ต้องสิ้นปีที่ 2 ไปตามข้อกำหนดที่ได้ระบุไว้