หากเรามีความจำเป็นอะไรสักอย่างที่ต้องใช้เงิน และต้องสมัครบริการบัตรเครดิตแล้วนั้น แน่นอนเลยว่าจะหลีกเลี่ยงการ กดเงินสดจากบัตรเครดิต ไม่ได้เลย ทั้งนี้ทั้งนั้นหากจำเป็นจะต้องใช้จ่ายอะไรก็ตามแต่ ในแต่ละครั้งของการกดเงินสดจากบัตรเครดิตนั้น จะต้องคิดเสมอว่า หลังจากนี้ เราจะต้องใช้เงินที่กดออกมาคืนให้ได้ตามจำนวนที่กำหนดไว้ด้วย
วันนี้เราได้นำเอาวิธีเกี่ยวกับการคำนวณดอกเบี้ยจากการ กดเงินสดจากบัตรเครดิต มาฝากกันค่ะ
ทั้งนี้คุณอาจจะยังแยกไม่ออกว่า แล้วเจ้าบัตรเครดิต กับ บัตรกดเงินสดนั้น มันแตกต่างกันอย่างไรละ?วันนี้เรามีการแยกความหมาย และ แนวทางของทั้งสิ่งนั้นออกด้วยกัน เพื่อให้ท่านจะได้เข้าใจและแยกแยะออกจากกันได้ว่า แตกต่างกันอย่างไร วันนี้เราจะมาแยกประเภทกันไว้ค่ะ(ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับความชอบ และ แนวทางการใช้จ่ายของให้ต่ละคนนะคะ สำหรับการทำบัตรอะไรก็ตาม อย่าลืมแค่ว่า ต้องดูดอกเบี้ยของเขาด้วยนะคะ)
บัตรเครดิต
มีความแตกต่างกับบัตรกดเงินสดตรงที่ มันสามารถใช้จ่ายในประจำวันได้ดี เรียกได้ว่าเหมาะสมกับการใช้จ่ายในชีวิตประจำวันเลยก็ว่าได้ ซึ่งไม่จำเป็นที่จะต้องถือเงินเยอะมากมายอยู่กับตัว แถมทุกการใช้จ่ายที่ทำการผ่านบัตรเครดิดนั้น ยังมีการสะสมแต้มสนับสนุนให้คุณสามารถนำไปใช้เพื่อเป็นส่วนลดได้อีกในคราวหน้า ซึ่งจะมีร้านค้าร่วมรายการ หรือ กิจกรรมต่างๆที่ร่วมรายการ ตรงตามเงื่อนไขของบัตรนั้นๆจึงจะใช้ได้ เป็นต้น แต่บัตรเครดิตจะไม่นิยมกดเงินสดออกมาเพราะจะเสียค่าธรรมเนียมและดอกเบี้ยสูง ส่วนใหญ่แล้วจะใช้แค่รูดจ่ายสินค้าเพียงอย่างเดียวเท่านั้น
บัตรกดเงินสด
ตามขื่อและตรงตัวต่อการใช้งานของมันเลยค่ะ เจ้าบัตรใบนี้ใช้เพื่อ กดเงินสดจากบัตรเครดิต ซึ่งบางกรณีจะมีการอนุมัติเงินสูงกว่าบัตรเครดิตเขานิดหน่อยนะคะ ทั้งนี้ทั้งนั้น ไม่ควรที่จะนำมาใช้แทนบัตรเครดิต เพราะตัวบัตรเครดิด นอกจากจะสามารถ กดเงินสดจากบัตรเครดิต มาใช้ได้แล้วนั้น ทั้งนี้ดังที่กล่าวมา เขาสามารถสะสมแต้มหลังจากการใช้งาน กดเงินสดจากบัตรเครดิต แล้วนั้นเอง สุดยอดไปเลยใช่มั้ยค่ะ กับการ กดเงินสดจากบัตรเครดิต เนี่ย!
คิดคำนวนถึงค่าเงินที่จะต้องจ่ายภายหลัง โดยมีดังนี้
วิธีคำนวณ ยกตัวอย่างการคำนวณเงินและดอกเบี้ยหลังจากทำการ กดเงินสดจากบัตรเครดิต ไปแล้ว
สมมุติว่าในช่วงวันที่ 2 เดือนมกราคม ได้ กดเงินสดจากบัตรเครดิต เป็นเงินจำนวน 10,000 บาท มีค่าธรรมเนียมเกิดขึ้นทันที 300 บาท รวมด้วยค่า vat 21 = 321 บาท ดอกเบี้ย 20% คำนวณรายวัน เมื่อถึงวันชำระเงินที่ได้กดออกมาใช้ในเดือนหน้า เช่นจ่ายวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 10,000×20%x(13วัน/365) = 71.25 บาท เป็นต้น
อีกรณีหนึ่ง คือการแบ่งจ่าย เงินที่ กดเงินสดจากบัตรเครดิต ยกตัวอย่างเช่น การแบ่งจ่ายในเดือนแรก
เงินต้น 3,000 + ค่าธรรมเนียมพร้อมvat 321.- + ดอกเบี้ย 71.25 รวม 3,392.25 บาท เป็นต้น
เอ๊ะ?แล้วดอกเบี้ยบัตรกดเงินสดมันแพงไหมละ เมื่อเทียบกับดอกเบี้ย กดเงินสดจากบัตรเครดิต
คุณจะต้องทราบถึงเงื่อนไขต่างๆและศึกษาถึงแนวทางการคิดดอกเบี้ยของบัตร กดเงินสดจากบัตรเครดิต ว่าเขามีสูตรการคิดคำนวณอัตราดอกเบี้ยอย่างไร ภาวะดอกเบี้ยนั้นที่ไหนมีความเสียงที่ดอกเบี้ยแพงกว่า อย่าลืมศึกษาถึงรูปแบบการคิดคำนวณเงินก่อนใช้ หรือก่อนที่จะ กดเงินสดจากบัตรเครดิต ด้วย
ก่อนจะจบเนื้อหาในครั้งนี้ เราจะขอทิ้งท้ายเกี่ยวกับการหมุนเงิน ด้วยการ กดเงินจากบัตรเครดิต ไปหมุนเงิน
หากคิดจะดำเนินการหมุนเงินด้วยบัตรเครดิต อย่าลืมที่จะจดบันทึกรายการที่เราได้ทำการหมุนเงินไว้ ว่ารายการหมุนเงินนั้น เราได้กระทำอะไรไปบ้าง(จะได้ไม่งง )เพื่อดูว่าตอนนี้และต่อไปควรจะจัดการอย่างไรกับการหมุนเงิน ด้วยการ กดเงินสดจากบัตรเครดิต อย่างไรดี อย่าลืมที่จะเก็ยสลีปที่เราได้ทำการชำระเงินในแต่ละครั้งเพื่อตรวจสอบความถูกต้องเสมอ ต้องมีวินัยต่อการชำระเงินในทุกๆครั้งที่ถึงกำหนดเงิน แบ่งสันปันส่วนให้ลงตัว แล้วคุณจะไม่พบปัญหาเรื่องการเงินมารบกวนได้เลย อย่าลืมนะคะเพราะการจดบันทึกถือว่าเป้นสิ่งที่สำคัญมากและยังช่วยให้เราไม่หมุนเงินจากบัตรเครดิตมากจนเกินไปอีกด้วย
ทั้งนี้อยากจะขอย้ำอีกว่า หากเมื่อใดที่คุณได้กระทำการ กดเงินสดจากบัตรเครดิต แล้วนำมาใช้จ่ายในทุกครั้งๆอย่าลืมว่าจะต้องอยู่ในวงเงินที่ไม่ทำให้ชีวิตประจำวันของตัวเองพลอยเดือดร้อนไปด้วย! สมมุติว่าในเดือนหนึ่งคุณมีเงินเดือน 15,000 บาท คุณจะต้องกดเงินสดมาใช้ในวงเงินที่ไม่เกิน 10,000 บาท ทั้งนี้ก็เพื่อเผื่อดอกเบี้ยที่ต้องจ่ายด้วยนั่นเอง ลองคิดดูสิคะว่าหากคุณกดเงินสดมาใช้หรือใช้บัตรเครดิตซื้อสินค้าพอดี 15,000 บาท แล้วดอกเบี้ยล่ะ คุณจะเอาเงินที่ไหนมาจ่าย แถมเงินเดือนก็ดันหมดพอดีเป๊ะ จะมีแต่บัตรเครดิตไว้ใช้อย่างเดียวแต่ไม่มีเงินสดไว้ใช้จ่ายสำรองแลยก็ไม่ดีนะคะ
เพราะฉะนั้นคิดจะใช้บัตรเครดิตต้องใช้อย่างมีสติและใช้ให้ถูกวิธี และควรจดบันทึกการใช้จ่ายเงินด้วยบัตรเครดิตไว้เสมอ จะได้รู้ว่าในเดือนนั้นเราใช้จ่ายไปเท่าไหร่แล้วนั่นเอง