ประกันรถยนต์ มีหลายประเภทและหลายชนิด จนเราไม่รู้ว่าเราควรทำแบบไหนที่เหมาะสมกับเรา เราได้รวบรวมบทความที่น่าสนใจ เกี่ยวกับการทำประกันรถยนต์มาฝากทุกท่านกันนะคะ ลองศึกษากันดูได้เลยในบทความดังต่อไปนี้
ปัจจุบันการทำ ประกันรถยนต์ แบ่งเป็น 2 ชนิดดังต่อไปนี้คือ
1 . กรมธรรม์ประกันภัยภาคบังคับ
กรมธรรม์ประกันภัยภาคบังคับ หรือที่เราเรียกว่า พรบ.คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ ซึ่งในปัจจุบันกฎหมายมีข้อบังคับให้รถยนต์รวมถึงรถจักรยานยนต์ทุกคันทุกชนิด จำเป็นต้องทำประกันประเภทนี้ เพราะภายใต้พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 ให้คุ้มครองเฉพาะ ความเสียต่อชีวิตรวมถึงร่างกายของบุคคลภายนอก เป็นผู้ประสบอุบัติเหตุจากรถทุกชนิด
โดยที่จะจ่ายค่ารักษาพยาบาลรวมถึงค่าสินไหมเพื่อทดแทนกับผู้ประสบภัยจากรถทุกคน
2. ประกันภัยภาคสมัครใจ
ประกันภัยภาคสมัครใจ ซึ่งการทำประกันประกันประเภทนี้เราสามารถทำด้วยความสมัครใจโดยไม่มีผู้ใดบังคับก็คือ จะมีความคุ้มครองต่อชีวิตและร่างกาย รวมถึงทรัพย์สินของบุคคลภายนอก ที่ได้รับความเสียหายจากการกระทำของรถยนต์นั้นที่เอาประกันภัย
และในส่วนของความเสียหายที่เกินวงเงินความคุ้มครองของกรมธรรม์ประกันภัยภาคบังคับนั้น การประกันภัยภาคสมัครใจจะแบ่งออกเป็นชนิดๆ เช่น ประกันภัยประเภท ที่หนึ่ง ซึ่งจะคุ้มครองครอบคลุมการเกิดภัยต่างๆทุกชนิด และประกันภัยประเภท สองและสาม ธรรมดา ได้เป็นกรมธรรม์ชนิดคุ้มครองเฉพาะภัย ซึ่งจะคุ้มครองเฉพาะความเสียหายทีเกิดแก่บุคคลภายนอกเท่านั้น การคุ้มครองรถยนต์ซึ่งเป็นทรัพย์สินที่เอาประกันภัยจะเฉพาะภัยที่เข้าเงื่อนไขความคุ้มครองนั้น การทำประกันภัยประเภท สองและสาม พิเศษ เป็นกรมธรรม์คุ้มครองเฉพาะภัย อย่างเช่นดียวกัน ซึ่งแต่จะคุ้มครอง เฉพาะอุบัติเหตุบางชนิดที่เกิดแก่รถยนต์ที่เอาประกันภัยเท่านั้น ยกตัวอย่างเช่น กรณีชนกับรถยนต์ กรณีรถยนต์ที่เอาประกันภัยเกิดไฟไหม้และรถยนต์สูญหายหรือน้ำท่วม เป็นเฉพาะภัยที่ระบุไว้ในสัญญาประกันภัย
สำหรับการเลือกทำประกันภัยรถยนต์นั้น ประกันภัยรถยนต์ชั้น หนึ่ง สองและสาม จะมีความแตกต่างกันอย่างไร
หลายคนสงสับว่าการประกันภัยคืออะไร เมื่อเราทำแล้วจะมีประโยชน์อย่างไร คือ ซึ่งการประกันภัยเป็นส่วนสำคัญส่วนหนึ่งที่ช่วยในการบริหารการเงินของคุณ ก็เพราะว่าเป็นวิธีที่ทำให้คุณนั้นสามารถลดภาระค่าใช้จ่ายอันเนื่องมาจากเหตุการณ์ไม่คาดคิดได้ โดยที่อาจเกิดต่อตัวหรือทรัพย์สินของคุณก็ได้ทุกเมื่อ ซึ่งบริษัทที่คุณทำประกันภัยไว้นั้นจะทดแทน ค่าเสียหายทั้งหมดให้ตามวงเงินที่ระบุไว้ในกรมธรรม์ที่คุณทำ ซึ่งในการสร้างความมั่นคงทางการเงินให้แก่คุณและครอบครัวได้ ดังนั้นการทำประกันภัยจึงมีประโยชน์อย่างมากต่อคุณและเป็นสิ่งที่ไม่ควรมองข้ามเป็นอันขาด อย่างไรก็ตามก่อนซื้อประกันภัยทำประกันภัยทุกครั้งคุณควรทำความเข้าใจกับหลักการประกันภัยเสียก่อน เพื่อที่จะได้สามารถเลือกซื้อประกันภัยแบบที่คุณคิดว่าเหมาะสมในราคาที่คุ้มค่า
สำหรับการประกันภัยคือ เป็นการจ่ายค่าเบี้ยประกันภัยในจำนวนเล็กน้อย แต่เมื่อเทียบกับความเสียหายนั้นแล้ว เพื่อป้องกันไม่ให้ต้องเสียเงินมากในกรณีที่เกิดความเสียหายขึ้นจริง โดยทางบริษัทประกันภัยจะเป็นผู้รับผิดชอบต่อความเสียหายทั้งหมดแทน ทางการประกันภัยมิได้เป็นการทำให้ความเสี่ยงหรืออุบัติเหตุหายไปแต่อย่างใด แต่การประกันภัยนั้นจะช่วยลดภาระ ค่าใช้จ่ายและแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้ เรื่องด้านการเงินตลอดจนการดำเนินการต่าง ๆ และอันเนื่องมาจากความเสียหายนั้น
สำหรับวิธีการป้องกันความเสียหายที่แท้จริงคือ ความระมัดระวังในการดำเนินชีวิตของตัวคุณเอง ส่วนเรื่องการประกันภัยนั้นคุณควรมีไว้เพื่อเป็นสำรองในกรณีที่เกิดเหตุการณ์ที่ไม่เราไม่สามารู้ได้
แล้วใครมีหน้าที่ต้องทำประกันภัยรถรวมถึงโทษการไม่ทำประกันภัย ซึ่งผู้มีหน้าที่ต้องทำประกันภัยรถนั้น ได้แก่ เจ้าของรถหรือผู้ครอบครองในฐานะผู้เช่าซื้อรถ รวมถึงผู้นำรถที่จดทะเบียนในต่างประเทศแล้วเข้ามาใช้ในประเทศ สำหรับการฝ่าฝืนไม่จัดให้มีการทำประกันภัยรถ พ.ร.บ กำหนดให้ระวางโทษนั้นจะปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท สำหรับผู้ที่ได้รับความคุ้มครองตาม พ.ร.บ ผู้ประสบภัยซึ่งได้แก่ ประชาชนอย่างเราทุกคนที่ประสบภัยจากรถ ไม่ว่าจะเป็นผู้ขับขี่หรือผู้โดยสารคนเดินเท้า หากแต่ได้รับความเสียหายึงแก่ชีวิตและร่างกาย อนามัย อันนี้เนื่องมาจากอุบัติเหตุที่เกิดจากรถทั้งสิ้นก็จะได้รับความคุมครองตาม พ.ร.บ นี้ด้วย สำหรับทายาทของผู้ประสบภัยข้างต้น ในกรณีผู้ประสบภัยนั้นได้เสียชีวิต ผู้มีหน้าที่รับประกันภัยและบทลงโทษของการไม่รับประกันภัย ผู้มีหน้าที่ต้องรับประกันภัย คือได้แก่ บริษัทประกันวินาศภัยที่รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจด้านประกันภัยรถ และประชาชนสามารถทำประกันภัยรถ พ.ร.บ ได้ที่บริษัทประกันภัยข้างต้นที่กล่าวมารวมไปถึงสาขาของบริษัทนั้นด้วยทั่วประเทศ
และนอกจากนี้ยังมีบริษัทกลางที่คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ จำกัด ที่รับประกันภัยเฉพาะรถจักรยานยนต์เท่านั้น โดยมีสาขาให้บริการทั่วประเทศเพื่อเพิ่มความสะดวกสบาย หากบริษัทใดฝ่าฝืนไม่รับประกันภัยรถตาม พ.ร.บ คุ้มครองแล้วจะต้องระวางโทษปรับตั้งแต่ จำนวนเงิน 50,000บาท ถึง 25,000 บาท
สำหรับอัตราเบี้ยประกันภัย พ.ร.บ นี้ได้กำหนดเป็นอัตราเบี้ยประกันภัยชั้นสูงซึ่งเป็นอัตราเดียวแยกตามประเภทรถ ลักษณะการใช้รถบริษัทนั้น
ประเภทรถได้แก่ รถจักยานยนต์ และรถยนต์ไม่เกิน 7 ที่นั่ง สำหรับลักษณะการใช้รถ แบ่งได้เป็น 2 ลักษณะการใช้
- ส่วนบุคคล
- รับจ้าง / ให้เช่า
เป็นอย่างไรกันบ้างคะ หากใครที่ยังไม่ได้ทำประกันอะไรก็ควรไปทำกันนะคะ เพราะเป็นการคุ้มครองที่มีประโยชน์อย่างมาก สำหรับผู้ใช้รถใช้ถนนอย่างเรา
ประกันภัยรถยนต์ จากบริษัทชั้นนำ ราคาพิเศษ พร้อมบริการช่วยเหลือบนท้องถนน >> ดูรายละเอียดเพิ่มเติม << คลิกเลย