
ทำงานบริษัทเอกชน ควรวางแผนการเงินอย่างไร
รายละเอียดในการวางแผนการเงินอาจแตกต่างกันไปตามลักษณะของการทำงาน อาชีพ วัยหรือปัจจัยอื่น ๆ ของแต่ละบุคคล วันนี้เราจะมาดูกันว่าคนที่ทำงานมีอาชีพเป็นพนักงานบริษัทเอกชนนั้น ควรมีการวางแผนการเงินอย่างไรถึงจะเหมาะสม ไม่ว่าจะทำงานในอาชีพใดก็ตาม รวมถึงการเป็นพนักงานบริษัทเอกชนด้วย การวางแผนการเงินนั้นควรต้องทำตั้งแต่เริ่มทำงานใหม่ ๆ ไม่ควรคิดว่าไม่จำเป็นหรือรอไว้ก่อน

แชร์ประสบการณ์ เด็กอายุ 24 ปี มีรายได้ถึง 5 ทางด้วยกัน
เจ้าของกระทู้ต้องเสียพ่อไปตั้งแต่อยู่ ป.5 ทำให้ชีวิตในครอบครัวต้องเหลือเพียงแค่ตัวเขา พี่และแม่ แน่นอนว่าเมื่อสูญเสียหัวหน้าครอบครัวไป ครอบครัวก็ต้องดิ้นรน แม่ที่เคยเป็นแม่บ้านก็ต้องเริ่มออกไปทำงานนอกบ้านเพื่อหารายได้มาเลี้ยงลูกที่ยังอยู่ในวัยเรียนทั้ง 2 คน การต้องสูญเสียพ่อไปตั้งแต่ยังเล็กและต้องเห็นแม่ทำงานลำบากทำให้เจ้าของกระทู้เป็นคนมีนิสัยประหยัด อดออม ไม่ซื้อของฟุ่มเฟือยและมีเป้าหมายในชีวิตที่อยากรวยเพราะไม่อยากมีชีวิตที่ลำบากเหมือนที่ผ่านมา

ผู้ชายที่ประสบความสำเร็จ เขามีแนวคิดในการใช้เงินอย่างไร
หญิงสาวหลายๆคนอยากได้ผู้ชายที่ประสบความสำเร็จมาเป็นแฟน โดยเฉพาะประสบความสำเร็จด้านการเงิน พูดง่ายๆคือ อยากได้คนรวย มีเงินเยอะๆมาเป็นแฟนนั่นเอง แต่ผู้ชายส่วนใหญ่มักไม่ชอบผู้หญิงที่สนใจแต่เรื่องเงินทองของเขา เพราะเชื่อว่า เธอหน้าเงิน เห็นแก่ได้ แต่ก็มีผู้ชายบางคนยอมรับได้ เพราะโดยธรรมชาติ ไม่ว่ายุคปัจจุบันหรือสมัยก่อน เก่าไปจนถึงยุคโบราณ สิ่งที่ผู้หญิงเรียกร้องจากผู้ชาย คือความแข็งแกร่ง

เมื่อตัวเองเป็นแค่ทางผ่านของเงินเดือน แล้วชีวิตจะเหลืออะไร
ทว่าพอเข้าสถานการณ์จริงดูเหมือนว่าเป้าหมายดังกล่าวจะเป็นได้แค่อุดมคติ ไม่มีวันเป็นจริง สำหรับมนุษย์เงินเดือน คนทำงานหลายคน กลายสภาพจากแหล่งหาเงินทุนกลายเป็นเพียงทางผ่านของเงินเดือน พอรับมาแล้วก็จ่ายไป พอรู้ตัวอีกทีหนึ่งก็พบว่าตัวเองมีเงินเก็บอยู่แค่นิดเดียว บางคนไม่มีเงินเก็บเลยสักบาทด้วยซ้ำ จนเกิดคำถามว่า เกิดอะไรขึ้น

แนวทางบริหารการเงินส่วนบุคคล ” แบบคนบริหารเงินเป็น “
ถ้าเรามีเงินอยู่ก้อนหนึ่งเราจะบริหารอย่างไรให้เงินก้อนนั้น เพิ่มพูนขึ้น หรือเราจะใช้จ่ายไปกับเรื่องอะไรที่ไม่ทำให้การเงินของเราเดือดร้อนถึงขั้นวิกฤติ คือเงินขาดมือ ต้องไปกู้หนี้ยืมสิน เป็นหนี้สิน การบริหารการเงินส่วนบุคคลจึงมีความสำคัญต่อชีวิตมาก คนที่บริหารเงินเป็นย่อมอยู่อย่างสบายใจ แต่คนที่บริหารเงินไม่เป็นก็มีแต่ความทุกข์ ดังนั้น วันนี้เราจะมาดูแนวทางการบริหารเงินอย่างง่าย ๆ กันว่าต้องทำอย่างไรบ้าง

ฝ่าวิกฤตชีวิตมนุษย์เงินเดือน ! “เป็นหนี้ มีลูก แถมไม่มีเงินเก็บ”
หากให้พูดถึงอาชีพที่มีความมั่นคงมากที่สุด ทั้งในรูปแบบของการทำงานและสถานะทางการเงิน คงต้องยกให้ทุกอาชีพประจำที่ได้รับเงินเดือน ด้วยอาชีพเหล่ามีความมั่นคงสูงและการันตีได้ว่าคนทำงานจะได้รับเงินอย่างสม่ำเสมอในแต่ละเดือนแน่นอน ซึ่งข้อเสียเดียวของอาชีพเหล่านี้ คือคนทำงานจะไม่สามารถเพิ่มจำนวนเงินหรือรายรับให้มากได้ตามที่ใจต้องการ ที่สำคัญทุกคนที่ทำงานประจำหรือที่หลายคนชอบเรียกว่า “มนุษย์เงินเดือน”

วางแผนการเงินบนความเสี่ยงที่ช่วยให้ชีวิตคุณเสี่ยงน้อยลง
เมื่อพูดถึงการวางแผนทางการเงิน คนส่วนใหญ่ยังมีความเข้าใจว่า การวางแผนทางการเงินที่ดีนั้นคือการบริหารจัดการและจัดสรรการใช้จ่ายเงินอย่างมีแบบแผน ด้วยการบริหารรายรับให้เพียงพอกับรายจ่ายและเหลือเพียงพอสำหรับการออม แม้รูปแบบการวางแผนทางการเงินแบบนี้จะดูมั่นคง มีความปลอดภัยสูงและประกันตนเองได้ในระดับหนึ่งว่า ชีวิตจะไม่พบกับปัญหาทางการเงิน

6 ข้อเสียของการไม่วางแผนทางการเงิน
การวางแผนทางการเงิน คือ การบริหารจัดการรายรับ รายจ่ายและเงินเก็บอย่างเป็นระบบ มีความสอดคล้องลงตัว จึงนับเป็นสิ่งที่จะช่วยให้สามารถควบคุมสถานะทางการเงินได้เป็นอย่างดี ทั้งนี้ หากขาดซึ่งการการวางแผนด้านการเงิน และใช้จ่ายอย่างไม่เป็นระบบระเบียบ ผลก็ย่อมตกอยู่ในทางตรงกันข้าม สำหรับวันนี้ เพื่อเป็นการให้แง่คิดเตือนใจสำหรับท่านที่กำลังรู้สึกว่าตนเองไม่เคยวางแผนการใช้จ่ายเลย

รายจ่ายมากกว่ารายได้ จัดการอย่างไรดี ?
ปัญหารายได้ไม่สัมพันธ์กับรายจ่ายนี้ ถือเป็นปัญหาโลกแตกที่มนุษย์เงินเดือนไม่ว่าจะยุคไหนก็ตามต้องประสบพบเจอ แต่ดูเหมือนว่าพอเข้าสู่ยุคโลกาภิวัฒน์ ผู้คนให้ความสำคัญกับวัตถุสิ่งของมากและเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันเหลือเกิน ก็ดูเหมือนว่าปัญหานี้จะยิ่งทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น หลายคนรายได้น้อยนิดแทบจะไม่พอกิน แต่ก็พยายามหาเงิน เพื่อมาซื้อวัตถุทางเทคโนโลยีให้ได้

แก้ปัญหาการใช้เงินเกินตัวด้วยการวางแผนการเงิน
ปัญหาการใช้เงินเกินตัว เป็นปัญหาที่หลายท่านอาจรู้สึกว่าตนเองกำลังเผชิญ ซึ่งถึงแม้จะพยายามสักเพียงใดก็ไม่สามารถแก้ไขได้เสียที เพราะเมื่อมีรายได้ ก็มักจะเผอเรอใช้จ่ายไปอย่างสูญเปล่าอยู่เสมอ สำหรับวันนี้ เพื่อเป็นการแบ่งปันเทคนิคดีๆให้กับท่านที่กำลังพยายามจะแก้ไขปัญหาดังกล่าว จึงขอนำเสนอเทคนิค 3 ขั้นตอนในการแก้ปัญหาการใช้เงินเกินตัวด้วยการวางแผนการเงิน